Sunday, January 15, 2006

Back to Basic

In Economics, we learned about Labor and Capital (including Land) that they are factors of production. They are complimentary to each other to some extend, in a sense that one can replace a unit of labor with some amount of capital to yield a quantity of product. Labor earns some returns to its owner, human. And Capital earns some returns to its owner, also human. They appear to be two kinds of the same thing.

However, they are not quite the same. Labor ownership has some limitation. One can own only one unit of labor, oneself. Capital ownership has a slight difference that makes quite an impact. That is, one can own unlimited amount of capital.

One can try to increase one's wealth in two ways: (1) buffed up oneself, try to make one's labor more productive, with training...education...and so on; and (2) innovate, try to make one's capital more productive, with new technology...new ideas...and so on. Or (Well...it's actually 2 and a half ways) simply try to own more Capital.

Then...we started to see "inequality" (when some do not own as much Capital as some others). Unequal distribution of wealth only leads to even more unequal distribution of wealth, as the wealthiers want to be even wealthier. And so on.

But...what are Capitals anyway? Labor, we know. It is obvious. But what about Capital?

Capitals are products, not money. Money is only its reflection. Capitals are machines, cars, tools, buildings, and anything that facilitates production of something. Capitals are made/produced, and they can be sold entirely (i.e. change of ownership).

So...how can we stop or resolve this "inequality"?

One way is...to prevent individual from owning Capital. In other words, the government or the state or the people (these represent the same thing) owns it all. In some systems, the state (which suppose to represent people's interest) owns it. Only that...people who work in the state's body exploit it. That sounds like "corruption" alright. Again, with the exploitation, Capital is not actually evenly distributed...especially the power of the people is abused in such way.

Another way (probably) is...to make Capital absolutely inferior to Labor. Make Capital earn nothing, i.e. it would have no value-added. But, come to think of it, that would be in conflict to reality. For example, a hammer will worth more than just some steel and wooden handle when used by a carpenter to build a chair. Its value-added come naturally by its function.

Well..........I've been thinking this far. And, I still cannot figure it out an effective way to deal with the "inequality." Perhaps, the solution does not lie in the Economic Realm...but rather ethics, moral, culture, maybe even politics. Anybody...any idea?

posted by Bikku @ 1:00 AM

3 Comments:

At 4:31 AM, Blogger The Iconoclast's Journey said...

คราวนี้ไม่ได้พาเที่ยวอย่างที่เคยเเล้วนิฮะ อย่างเรื่องความไม่เท่าเทียมกันในสังคมนะพี่ ก็อย่างที่พี่บอก เราคงมองเเต่ด้านเศรษฐกิจอย่างเดียวก็คงไม่ได้ เพราะมันยังมีปัจจัยอย่างอื่นที่มากำหนดสันดาน (พฤติกรรม ถ้าให้ไพเราะหน่อย) ของปัจเจกบุคคล กลายเป็นว่ามือใครยาวมันก็สาวได้สาวเอา นอกจากนี้สัตว์เศรษฐกิจบางตนยังริเริ่มความคิดในการใช้อำนาจรัฐและกำลังศักยภาพทาง ศก สูบเอาสูบเอา

และการที่เราอยู่ในโลกของทุนนิยม คงเป็นการยากที่จะปฏิเสธหรือต่อต้าน คงดังคำกล่าวอ้างของท่านผู้นำบางคนที่ได้กล่าวอ้างในวันเด็กเเห่งชาติ ว่ามันเก่าเเล้วที่จะให้คำขวัญวันเด็กว่าให้ทำตัวเป็นเด็กดี มีวินัย อะไรเทือกนั้น เราต้องปฏิรูปเป็นเด็กฉลาดเป็นกรดเพื่อดำรงอยู่ในระบบทุนนิยมซืึ่งถ้าเด็กน้อยยังโง่อยู่ก็อาจจะเป็นเหยื่อของปลาใหญ๋ ซึ่งเเนวคิดดังกล่าวได้สะท้อนถึงความรักในการที่จะสะสมทุนโดยไม่หยุดยั้ง

จากตัวอย่างข้างต้นถ้าเด็กทุกๆคนถือตนดำเนินตามเเนวคิดดังกล่าว เมื่อเด็กเหล่านั้นเติบโตขึ้น ก็คงจะเดาๆกันได้ว่าเค้าคงเป็นผู้ใหญ่ที่มีเเนวคิดดังกล่าวไม่ต่างไปจากท่านผู้นำสักเท่าไหร่

จากเเนวคิดที่พี่เขียนมา ถ้าดูจากพื้นเพเบื้องหลังการศึกษาของพี่เเล้ว ผมว่ามันคงไม่ใช่เเนวคิดที่พี่อยากให้เกิดขึ้นจริงสักเท่าไหร่ (ช่วยบอกผมด้วยนะถ้าผมผิด) เนื่องจากความคิดเเรกนี่มันออกจะเป็นขั้วที่ต่างออกไปจากฟากทุนนิยม ส่วนเเนวคิดอันที่สองอาจจะลดระดับความรุนเเรงน้อยกว่าหน่อย อย่างมากก็เเค่ขัดกับหลักเเนวคิดทุนนิยม

ซึ่งผมก็คงไม่นิยมส่งเสริมเเนวคิดทั้งสองสักเท่าไหร่ ในทางกลับกันถ้าผมไม่เห็นด้วยกับเเนวคิดด้งกล่าว ผมมีความคิดเห็นต่างออกไปอย่างไร

สมมตินะครับว่าผมต้องเลือกใช้บริการโทรศัพท์มือถือ ณ ตอนนี้มีบริษัท ก กับ บริษัท ข ให้เลือก โดยบริษัท ก มีเครือข่ายดีครอบคลุมทั่งประเทศ แต่พฤติกรรมชอบสูบเลือดสูบเนื้อ เเถมพื้นเพยังชอบเอาเปรียบสังคม กับบริษัท ข เครือข่ายด้อยกว่าบริษัทเเรก พฤติกรรมก็อาจจะไม่ได้เเย่เหมือนบริษัท ก

ผมก็คงต้องดำเนินชีวิตในระบบทุนนิยมคนหนึ่งเหมือนกับคนทั่วไป เเล้วโทรศัพท์มือถือก็คงจำเป็นในระดับหนึ่งในการทำงาน คำถามคือ ผมจะเลือกใช้บริการของบริษัทไหนดี

ถ้าเป็นผมนะพี่ทางเลือกที่ผมเลือกอาจจะเป็นบริษัท ข เนื่องจากผมไม่ชอบขี้หน้าบริษัท ก โดยส่วนตัว หรือไม่ก็ผมอาจจะไม่เลือกใช้เลย เพราะค่าบริการมันยังคงเเพงเกินไปในความคิดผม

นี่ก็อาจจะเป็นทางเลือกหนึี่งนะครับที่ผมว่ามันก็โอเค เริ่มจากการสั่งสอนจากสถาบันครอบครัว การศึกษา วัฒนธรรม ว่าถ้าเราพอใจในสิ่งที่เรามีอยู่ไม่ได้ฟุ้งเฟ้อหลงระเริงไปกับการมีทางด้านวัตถุอย่างเต็มหัวใจ ถึงเเม้อาจจะเป็นวิธีที่อาจจะไม่เห็นผลอย่างฉับพลัน เเต่ผมให้ความสำคัญเป็นอันดับเเรกและก็สนับสนุนให้มันเกิดขี้นไม่ทางใดก็ทางหนึ่ง อันนี้ผมมองในเเง่ปัจเจกบุคคลนะพี่

อันที่สองในสังคมที่มีคนอยู่รวมอาศัยกันเป็นร้อยเป็นพัน มันก็คงต้องมีกฏมีกติกาในการอยู่ร่วมกัน เสมือนดังเกมฟุตบอลหากไร้ซึ่งกรรมการแล้ว เราอาจจะมีโอกาศได้เห็นสนามบอลเป็นสนามมวยก็ได้ ด้งนั้นในสังคมจึงต้องมีคณะกรรมการขึ้นมาเพื่อดูเเลผลประโยชน์สุข และความปลอดภัยของประชาชน หรือที่เราเรียกกันว่า คณะรัฐบาล

คณะรัฐบาลนี่เเหละที่ผมอยากให้เป็นคณะกรรมการที่เป่านกหวีดอย่างเป็นธรรม เป็นตัวกลางสำคัญระหว่างประชาชน ข้าราชการ นักวิชาการ นักศึกษา และคณะอื่นๆอีกมากมาย

ณ ที่นี้ผมให้ความสำคัญกับรัฐบาลในการกำหนดกติกาเพื่อผลประโยชน์ของมวลชนส่วนรวม หาใช่เพื่อออกเเบบกฏหมาย นโยบาย โครงสร้างทางสังคมเพื่อเอื้ออำนวยประโยชน์กับคนหมู่เหล่าใดหมู่เหล่าหนึ่ง ดังเช่นที่เป็นอยู่ในตอนนนี้

คือทั้งสองวิธีโดยหลักๆก็คือเปลี่ยนเเนวคิดของคนในสังคม ให้หันมามองดูตัวเองก่อน ก่อนที่จะมองสิ่งเเปลกปลอมจากโลกภายนอกเเล้วก็ด่ามันว่ามันไม่ดีอย่างนั้น มันไม่ดีอย่างนี้ ถ้าเรารู้จักตัวเราเองดี ถึงเเม้ว่าสิ่งเเปลกปลอมมันจะเเย่ขนาดไหน เราก็พร้อมที่จะอยู่ร่วมกับมัน ผมก็ติดว่าน่าจะเป็นทางออกของการไม่เท่าเทียมกันในสังคมได้ในระดับนึงนะพี่

 
At 12:48 AM, Blogger noomai said...

มาบอกว่าแวะมาเฉยๆ.. วันนี้สมองไม่ทำงาน ขอไม่อ่านหนึ่งวัน

 
At 7:19 PM, Anonymous Anonymous said...

เคยคิดจนเหนื่อยมาแล้วเหมือนกันพี่บิ๊ก ยิ่งเวลาไปทำงานต่างจังหวัดตามหมู่บ้านเล็กๆไกลๆ
ไม่ใช่เพราะเห็นว่าเค้าไม่มีนะ
แต่เศร้าที่เห็นว่า ที่เค้าอยู่ของเค้าดีๆ
ธกส ก็ไปให้กู้
กู้มาซื้อรถกระบะ ทีวี ตู้เย็น มือถือ
หรือแม้แต่ นมจีฟฟารีนให้ลูก!!!

หรือเวลาเห็นคน african ไม่มีกิน
โดนเป็นหนูทดลองยา ในหนังในทีวี
แล้วก็เปิดมาอีกช่องเป็น paris hilton
กระเดะออก simple life

จนคิดว่าหรือจริงๆ equality ไม่มีทางเป็นไปได้
เอาเป็น equity ละกัน ทำได้ไม๊
หรือคนมีเยอะให้เยอะ คนมีน้อยให้น้อย
หรือ equality for opportunity ก็ได้
แล้วจะเลือกทางไหนก็ทางคุณ
แต่ขอให้มีสิทธ์ให้เลือกเป็นพื้นฐาน
เรื่องนีเคยฟังคนคุยกัน เค้าเถียงกับไปถึงว่า
ก็เกิดมามีสมองไม่เท่ากัน ไม่ร่างกายไม่เท่ากัน
จะไปให้เท่ากันในชีวิตต่อๆมาได้ไง เอาเข้าไปนั่น

ทางออกมันไม่ใช่แค่ econ, moral, ethics, culture, politics แต่เป็น multidisciplinary เอ๊ะ หรือ transdisciplinary เอ๊ะ หรือต้อง
interdisciplinary

โอ๊ียยยย เฮอะๆ

แต่จริงๆนะ ในใจแอบคิดว่า
ทางออกหน่ะ คือ ศาสนา ตึง!

ขนาด foucault ในบั้นปลายชีวิตก็ยอมรับ
ว่าพลังของศาสนามันทำให้ขับเคลื่อนสังคมได้จริงๆ
แรงดีมีพลังกว่าศาสตร์อื่นๆมาก

จริงๆ หลักพุทธนี่ถ้าทำได้ ใช่เลย
หลักอิสลาม นี่ ใหญ่มีเพื่อน african
ที่เป็นแขกนะ จนทุกวันนี้ ก็ให้1ส่วน3ของเงินเดือนกับชุมชนอยู่
ไม่ได้มีเงินมากมายเลย

แต่คริสตกับยิว์นี่ไม่รู้ว่าจะช่วยได้ไม๊ เพราะเรื่องความไม่เท่าเทียมก็ยังมีอยู่เยอะ

 

Post a Comment

» Home

My Photo
Name:
Location: Bangkok, Thailand

About me? Oh...that's what I've always tried to find out.

I started this blog because I felt lost...without a destination. I didn't even believe I could continue this blog for so long (due to past experiences). But, here I am still...blogging away.

www.flickr.com
This is a Flickr badge showing public photos from chnin. Make your own badge here.

Powered by Blogger
Design by Beccary

Locations of visitors to this page